ReadyPlanet.com
ไวรัสโรต้า" ระบาดหน้าหนาว เสี่ยงท้องร่วงทุกวัย

"ไวรัสโรต้า" ระบาดหน้าหนาว เสี่ยงท้องร่วงทุกวัย

 

หน้าหนาวระวัง "เชื้อไวรัสโรต้า" ทำเด็กและผู้สูงอายุป่วยท้องร่วงมากสุด เผยสถิติหน้าหนาวปีที่แล้ว ป่วยมากถึง 3.5 แสนคน 50% เป็นเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี และผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป สธ.แนะวิธีป้องกันโรค

พญ.พรรณพิมล วิปุลากร โฆษกกระทรวงสาธารณสุข (สธ.) ให้ สัมภาษณ์ว่า โรคอุจจาระร่วงเป็นโรคที่พบได้บ่อยในช่วงฤดูหนาว พบมากในกลุ่มผู้สูงอายุและเด็กเล็กอายุต่ำกว่า 5 ปี โดยเชื้อไวรัสโรต้าส่วนใหญ่เป็นต้นเหตุโรคอุจจาระร่วงในฤดูหนาว มักจะพบในเด็กเล็กอายุต่ำกว่า 2 ปี โดยเชื้อจะปนเปื้อนในอาหารและน้ำดื่ม และติดต่อกันได้ทางน้ำมูกน้ำลายของผู้ป่วย เชื้อไวรัสโรต้าเป็นเชื้อที่พบมานานแล้ว พบได้ทั่วโลก เด็กที่ป่วยจะมีอาการคล้ายไข้หวัดนำมาก่อน ต่อมาจะถ่ายอุจจาระเป็นน้ำปนฟองและมีกลิ่นเหม็นเปรี้ยว มีอาเจียนร่วมด้วย หากเป็นมากอาจทำให้เด็กขาดน้ำรุนแรง เสียชีวิตได้

พญ.พรรณพิมล กล่าวต่อว่า เชื้อไวรัสโรต้า ติดต่อกันง่ายมาก เชื้อจะออกมากับอุจจาระเด็กที่ป่วย ติดต่อกันโดยเชื้อปนเปื้อนในอาหารและน้ำดื่ม บางครั้งเชื้อติดอยู่กับของเล่นเด็ก เมื่อเด็กหยิบเข้าปากก็ติดเชื้อได้ ดังนั้นในการป้องกันเด็กป่วย ขอให้ผู้ปกครองหมั่นล้างมือให้เด็ก ทำความสะอาดของเล่นบ่อยๆ เตรียมอาหารเด็กให้สุกด้วยความร้อน ดื่มน้ำต้มสุก ส่วนแม่หลังคลอดแนะนำให้เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน เด็กจะได้รับภูมิต้านทานโรคจากแม่ ไม่ป่วยง่าย ส่วนในกลุ่มประชาชนทั่วไป ขอให้รับประทานอาหารที่ปรุงสุกด้วยความร้อน หลีกเลี่ยงรับประทานอาหารที่ปรุงสุกๆ ดิบๆ ใช้ช้อนกลางตักอาหาร และล้างมือฟอกสบู่ทุกครั้งก่อนรับประทานอาหารและหลังจากใช้ห้องน้ำทุกครั้ง ทั้งนี้ ได้ให้สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด (สสจ.) เร่งประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ประชาชน เพื่อป้องกันการป่วยจากโรคดังกล่าว

ด้าน นพ.รุ่งเรือง กิจผาติ ผู้อำนวยการสำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่ กรมควบคุมโรค (คร.) กล่าวว่า จากการเฝ้าระวังโรคอุจจาระร่วงในฤดูหนาวปีที่ผ่านมา ตั้งแต่ พ.ย. 2555 ถึง ก.พ. 2556 รวม 4 เดือน พบผู้ป่วยโรคอุจจาระร่วงจำนวน 352,442 ราย โดยเป็นเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี และผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไปเกือบร้อยละ 50 เสียชีวิต 8 ราย การดูแลผู้ที่ป่วยโรคอุจจาระร่วง กรณีเด็ก ขอให้เด็กกินอาหารเหลวบ่อยๆ เช่น น้ำข้าวต้ม น้ำแกงจืด รวมทั้งกินนมแม่ตามปกติ เด็กที่กินนมผสมให้กินตามปกติ แต่ลดปริมาณลงครึ่งหนึ่งต่อมื้อ โดยให้กินสลับกับน้ำลายผงน้ำตาลเกลือแร่โออาร์เอสครึ่งหนึ่ง อาการเด็กจะค่อยๆ ดีขึ้นเป็นปกติได้ภายใน 8-12 ชั่วโมง หากอาการไม่ดีขึ้น เช่น ถ่ายเหลวไม่หยุด เด็กซึมลง ปากแห้งมาก ปัสสาวะสีเหลืองเข้ม ให้พาไปพบแพทย์โดยเร็ว

นพ.รุ่งเรือง กล่าวอีกว่า ส่วนในกลุ่มประชาชนทั่วไปและผู้สูงอายุ ขอให้รับประทานอาหารตามปกติแต่ควรเป็นอ่อน ย่อยง่าย เช่น ข้าวต้ม โจ๊ก แกงจืด เพื่อป้องกันการขาดสารอาหาร และให้ดื่มผงน้ำตาลเกลือแร่โออาร์เอสแทนน้ำและดื่มให้หมดภายใน 1 วันหากอาการไม่ดีขึ้น ยังถ่ายบ่อย อาเจียน รับประทนอาหารไม่ได้ กระกายน้ำมากกว่าปกติ มีไข้สูง หรือถ่ายอุจจาระเป็นมูกปนเลือด ให้รีบไปพบเจ้าหน้าที่สาธารณสุขหรือแพทย์

http://www.thaihealth.or.th/




สุขภาพ

เทคนิคโพสต์ท่าให้ดูผอม แค่ขยับนิด ชีวิตก็เปลี่ยน ผอมลงเห็นๆ! article
ดูแลสุขภาพของลูกน้อยง่าย ๆ ด้วยอาหารเช้า
สารพัดวิธีรักษาไข้หวัดจากธรรมชาติ ดีจริงหรือไม่ เช็กด่วน
อาหารต้านมะเร็ง 5 ชนิด ทานป้องกันโรคร้าย
เคล็ดลับการดูแลผิว สำหรับทุก ๆ วัน article
10 สุดยอดเทคโนโลยีเพื่อความงาม
ขยี้ตาบ่อย ทำให้เกิดริ้วรอยจริงหรือ... ?
เทรนด์แต่งหน้า 2015 สไตล์ไหนมาแรง เช็กด่วน ! article
ผิวแห้ง กับพฤติกรรม 5 ข้อที่รู้แล้วเลี่ยงด่วน !
หลากข้อดีจาก เซ็กส์ ต่อสุขภาพที่ผู้ชายควรรู้
น้ำผึ้งล้างหน้าเวิร์คจริงป่ะ ? มาดูผลการทดลองกัน
แต่งหน้ารับปริญญาแบบไม่ง้อช่าง สวยด้วย ! ประหยัดด้วย !
ตะไคร้ กับ 3 ประโยชน์ที่ช่วยในเรื่องความงาม
น้ำนม กับ 5 คุณประโยชน์ช่วยผิวสวย
กินมะละกอผิวสวย สารพัดประโยชน์เนียนใสจากภายในสู่ภายนอก
มันฝรั่ง กับ 7 สูตรเด็ดบำรุงผิวพรรณและเส้นผม
เตรียมผิวพร้อมรับหน้าหนาว ด้วยหลายทริคสุดแจ๋ว article
กำจัดสิวแบบเร่งด่วน ด้วยวิธีธรรมชาติ article
7 ความเชื่อผิด ๆ เกี่ยวกับอาหารที่คนลดความอ้วนหลงเชื่อ
ไปเล่นโยคะหัวเราะกันเถอะ!
ถุงยาง แบบที่คุณผู้ชายต้องลอง
โยเกิร์ต กับ 6 คุณประโยชน์ในด้านความงาม article
สธ. สั่งทุกโรงพยาบาลสำรองเซรุ่มแก้พิษงู 7 ชนิด ช่วงหน้าฝน article
อีโบลา เจาะลึกไวรัสมรณะที่โลกหวาดกลัว
สีแดงกับสมอง ความเชื่อมโยงอันน่าอัศจรรย์ที่คุณไม่เคยรู้
ประโยชน์ของน้ำมะนาว ดื่มอุ่น ๆ ยามเช้า ดีแค่ไหนต้องพิสูจน์
อยากลดน้ำหนัก แต่ติดขนมหวาน ทำไงดี
5 อาหารดี ๆ ที่กินเยอะไป ก็ไม่ดีได้เหมือนกัน
ดูฟุตบอลโลกอย่างไร ไม่ทำร้ายสุขภาพ article
ผื่นยอดฮิตที่พบบ่อยในฤดูฝน article
โกรธเมื่อไร หลีกให้ไกล 10 พฤติกรรมนี้
9 สูตรลดน้ำหนัก วิธีลดความอ้วน สำหรับสาวอยากผอม article
สธ. เตือนกินไข่แมงดาทะเลเผา-ยำหน้าร้อนเสี่ยงตาย
หลากวิตามินพิชิตเบาหวาน หยุดน้ำตาลพุ่งสูง ก่อนสายเกินแก้
เทคนิคกินผักให้อร่อย ทั้งปลอดภัย ทั้งได้คุณค่า
อยากอ่อนเยาว์ดื่มนมถั่วเหลืองสิ
ผลไม้ลดน้ำหนัก 13 ตัวช่วย อยากหุ่นสวยกระชับห้ามพลาด
วิ่ง เริ่มจากความพร้อม สู่เส้นทางสุขภาพดี
ร้อนนี้กินอย่างไร เย็นทั้งกาย สุขทั้งใจ article
วิธีไล่ยุงแบบธรรมชาติ ด้วยมาตรการปลอดภัย article
รู้หรือไม่ ยาคุมฉุกเฉิน กินพร้อมกัน2เม็ดได้ article
รักอย่างไร ถึงเรียกว่า รักเป็น article
‘วิ่ง’ เริ่มจากความพร้อม สู่เส้นทางสุขภาพดี
12 ไอเดียเปลี่ยนน้ำแข็งแนวใหม่ให้ไฉไลกว่าเดิม article
ขนมหวานไทย ๆ เลือกกินอะไร ไม่ให้แคลอรี่พุ่งปรี๊ด article
เปิดปีเริ่ด ๆ ด้วย 6 วิธีสู่ความแฮปปี้กว่าเดิม
เคล็ดลับดูแลสุขภาพให้ห่างไกลไข้หวัดใหญ่
ใช้ชีวิตอย่างไร ให้หัวใจแข็งแรง
ร่างกาย-รถ-อุปกรณ์พร้อม...เพิ่มความปลอดภัยในการเดินทาง article
วาซาบิความเผ็ดที่มีประโยชน์
กระเช้าปีใหม่ เลือกอย่างไร ให้ดีต่อสุขภาพคนรับ article
แนะหากเครียดควรปรับทุกข์กับคนใกล้ชิด
หยุดเอดส์! ต้องมองเรื่อง 'เพศ' อย่างเข้าใจ
6 ความเชื่อผิด ๆ เรื่องสุขภาพกับหน้าหนาว
3 ประโยชน์เลิศของโยเกิร์ต ไม่ได้โม้ !
ไม่ใช่วัยรุ่น ฮอร์โมนก็ป่วนได้นะ !
นอนดึกแก่ไว เรื่องจริงไม่ได้โม้ !!
แนะวิธีเลือกซื้อนมพร้อมดื่ม ป้องกันนมบูดก่อนบริโภค
ขับไล่ความเหนื่อยล้าด้วย 7 วิธีผ่อนคลายหลังเลิกงานของสาว ๆ
ความสวยยังเพิ่มได้ แล้วความสูงเพิ่มได้ไหม ?! article
ยาลดความอ้วนสูตรค็อกเทล อย. สั่งห้ามขาย ชี้อันตรายถึงชีวิต
เบต้าแคโรทีน เพื่อหัวใจและสุขภาพที่แข็งแรง
ใส่ใจการกินสักนิด พิชิตมะเร็งเต้านม
สธ. เตือน 6 โรคหน้าหนาว ระวังดื่มเหล้าคลายหนาว อันตรายถึงชีวิต article
เตือน ! ระวังป่วยโรคปอดบวม ช่วงปลายฝนต้นหนาว article
9 สุดยอดอาหารชวนให้ สดชื่น อารมณ์ดี article
9 เมนูฮิตครองใจคนทำงาน กินแบบไหนถึงสุขภาพดี article
กินดีรักษาสิวได้ ด้วยวิธีกินรักษาสิวให้หายใน 2 สัปดาห์
10 เคล็ดลับ...หลับปุ๋ย แก้ปัญหานอนไม่หลับ
พื้นที่ส่วนตัวของผู้หญิง...เรื่อง (ไม่) ลับที่คุณต้องรู้ !
8 ประโยชน์เจ๋ง ๆ จากเปลือกผักและผลไม้
เปลี่ยนกับข้าว ให้เป็นงานอาร์ตชั้นเอก ได้สุขภาพ article
สภากาชาดขาดเลือดด่วนช่วงน้ำท่วม article
อยู่พอเพียง บริโภคพอดี’ สู่ความมั่นคงทางอาหาร
แนะ 7 ขั้นตอนล้างมืออย่างถูกวิธี
หลักออกเจอย่างถูกวิธี ทานอาหารอย่างไรดีต่อสุขภาพ
สารพัดวิธีกินผักแบบเนียน ๆ อร่อยไม่ฝืนใจแถมได้ประโยชน์
ป้องกันและดูอาการเชื้อไวรัสชนิด A สายพันธุ์ H1N1
เคล็ดลับการถนอมดวงตาให้สวยสดใส
วิธีง่าย ๆ ในการเผาผลาญแคลอรีนอกยิม
เคล็ดลับการกินเพื่อให้มีรูปร่างเหมือนนายแบบ
'ผื่นภูมิแพ้-น้ำกัดเท้า' แก้ได้...แม้ 'ฝนตก'
โปรตีนเกษตรในอาหารเจรู้ไมทำมาจากอะไร
ปราบกลิ่นเท้าให้อยู่หมัด
รักษาอาการไอแบบไม่พึ่งยา ด้วยธรรมชาติบำบัด
สาธารณสุขชี้ คนไทยเตี้ย เพราะดื่นนมน้อย
ไอนานเกิน 2 สัปดาห์ สาเหตุมาจากหลายโรค
ยุคของแพง กินอย่างไร ได้ประโยชน์และสุขภาพดี
อึ้ง ! แท็บเล็ต-สมาร์ทโฟนเชื้อโรคอื้อ มากกว่าโถชักโครก 20 เท่า
ท้องอืดท้องเฟ้อบ่อยๆ ไม่ใช่เรื่องเล่นๆ
ยิ่งเดิน ยิ่งดีต่อสุขภาพ
น้ำหนักควบคุมได้ ทำไมต้องพึ่งยาลดความอ้วน
เรื่องของยาแก้ไข้ ใช้ตัวไหนปลอดภัยที่สุด
โคเอนไซม์ คิว 10 กินกันไปทำไม?
ไข้เลือดออก โรคตัวร้ายที่มียุงลายเป็นพาหะ article
มือชา อาการไม่ธรรมดาที่อาจเกิดขึ้นกับคุณ
4 สิ่งเหล่านี้...อาจไม่ดีต่อจุดซ่อนเร้นสาว ๆ นะจ๊ะ
ดื่มซะให้สวย กับ 5 เครื่องดื่มเพื่อผิวสวยใส สุขภาพดี
ผิวสวยด้วยการกิน กับ 10 อาหารเพิ่มความนุ่มสวยใส